-
-
-
-
Office-Related Syndrome
กายภาพบำบัดออฟฟิศซินโดรม
- ✓ Neck Pain (ปวดคอ บ่า ไหล่)
- ✓ Frozen Shoulder (ไหล่ติด)
✓ Low Back Pain (ปวดหลังส่วนล่าง)
✓ Knee Pain (ปวดเข่า)
Scoliosis (กระดูกสันหลังคด)
Spine Physiotherapy
กายภาพฯโรคทางระบบกระดูกสันหลัง
Sports Injuries
บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
Post-op Rehabilitation
ฟื้นฟูหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า/สะโพก
Stroke Rehabilitation
ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Previous
Next
-
-
-
-
Office-Related Syndrome
กายภาพบำบัดออฟฟิศซินโดรม
- ✓ Neck Pain (ปวดคอ บ่า ไหล่)
- ✓ Frozen Shoulder (ไหล่ติด)
✓ Low Back Pain (ปวดหลังส่วนล่าง)
✓ Knee Pain (ปวดเข่า)
Scoliosis (กระดูกสันหลังคด)
Spine Physiotherapy
กายภาพฯโรคทางระบบกระดูกสันหลัง
Sports Injuries
บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
Post-op Rehabilitation
ฟื้นฟูหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า/สะโพก
Stroke Rehabilitation
ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Previous
Next
กายภาพ ใกล้ฉัน, คลินิกกายภาพบำบัด, คลินิก กายภาพ บํา บัด ใกล้ ฉัน, กายภาพบําบัด, กายภาพบําบัด ใกล้ฉัน, คลินิก กายภาพ ใกล้ฉัน, คลินิกกายภาพ นนทบุรี, คลินิกกายภาพ อโศก สุขุมวิท กรุงเทพ, ศูนย์ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, ดีที่สุด, หมอกายภาพ เก่งๆ, ออฟฟิศซินโดรม ใกล้ฉัน, คลินิกรักษากระดูกสันหลังคด, Brain Rehab, Brain Rehab Clinic, Brain Rehab Clinic Thailand, เบรน รีแฮบ, เบรน รีแฮบ คลินิก, คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ, back pain treatment, รักษา ออฟฟิศ ซิ น โดร ม, physiotherapy Bangkok, รักษา สลักเพชร จม, รักษา กระดูก ทับ เส้น, รักษา หมอน รอง กระดูก ทับ เส้น ประสาท, sciatica pain treatment, รอง ช้ํา รักษา, knee physiotherapy, รักษา คอ บ่า ไหล่, รักษา ออฟฟิศ ซิ น โดร ม, รักษา tennis elbow, รักษา กระดูกสันหลัง คด, กายภาพ เบิก ประกัน
บริการ
โปรแกรมการรักษาของทางคลินิก ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยส่งเสริมให้คนไข้กลับมาใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
โปรแกรมการรักษาของทางคลินิก ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยส่งเสริมให้คนไข้กลับมาใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
โปรแกรมลดปวด Standard Course (60-75 นาที) การรักษาประกอบด้วยการตรวจร่างกายเพื่อหาสาเหตุของอาการปวดเพื่อการรักษาที่ตรงจุด การลดอาการอักเสบของเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อด้วยเครื่องอัลตราซาวด์ คลายกล้ามเนื้อ ประคบอุ่น กระตุ้นไฟฟ้า ยืดกล้ามเนื้อ mobilize หรือการดัดดึงข้อต่อ manual traction ในกรณีที่ข้อต่อติดหรือมีอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท รวมถึงการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และที่สำคัญที่สุด การปรับ posture ในการใช้ชีวิตประจำวัน รวมถึง Home Program เพื่อการรักษาที่เห็นผลอย่างยั่งยืน
ออฟฟิศ ซินโดรม ปวดคอ บ่า ไหล่ หลัง ขา สะโพก หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ปวดเข่า เข่าเสื่อม นิ้วล็อค รองช้ำ ปวดไหล่ ไหล่ติด ปวดหลังร้าวลงขา กระดูกสันหลังคด และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
โปรแกรมลดปวด Platinum Course (120-135 นาที) เหมือนกับ Standard Course แนะนำสำหรับผู้ที่มีอาการปวดมากกว่า 2 จุดขึ้นไป เพื่อการรักษาอย่างเต็มที่
โปรแกรมฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
(90 นาที) ให้บริการตรวจประเมิน บำบัด รักษา แก้ไข และฟื้นฟูด้วยวิธีทางกายภาพฯ แก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้แผนการรักษาแบบองค์รวมเฉพาะบุคคล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โปรแกรมถูกออกแบบและให้คำปรึกษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหลอดเลือดสมอง นพ.คุณากร อัชชนียะสกุล
Assessment
Ultrasound
Shockwave (Asoke)
Electrical Stimulation
Gun Massage
Joint Mobilization
Manual Traction
Stretching
Hot/Cold Compress
Exercises
Home Program
Posture Correction
FAQs
ทำไมต้อง เบรน รีแฮบ คลินิก?
คนไข้สามารถติดต่อ ปรึกษาปัญหาเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง เรามีการติดตามอาการ ผลการรักษา ตลอดจนให้คำปรึกษาในการดูแลตนเองเบื้องต้น จนกว่าจะถึงนัดหมายครั้งถัดไป
อะไรคือ ความแตกต่าง?
นักกายภาพฯ ของเรามีประสบการณ์ทำงานไม่ต่ำกว่า 10 ปี ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า คนไข้จะได้รับการรักษาที่ดีที่สุดและปลอดภัยที่สุด
มีการรักษา
8 ขั้นตอนหรือไม่?
ไม่มี เราเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมกับอาการของคนไข้ เช่น การกระตุ้นไฟฟ้า ไม่ได้เหมาะสมกับการรักษาทุกเคส ดังนั้น เราจึงใช้เวลาเพื่อโฟกัสกับการรักษาที่ได้ผลที่สุด
แล้วแนวทางการรักษา
คืออะไร?
การรักษาจะเน้นการทำงานของกล้ามเนื้อทั้งสองฝั่งอย่างสมดุล ลดการอักเสบของจุด Trigger point ซึ่งเป็นที่มาของอาการปวด ปรับโครงสร้างและปรับท่าทางในการใช้ชีวิตประจำวัน (Posture Correction) ไม่ว่าจะเป็นท่านอน ท่านั่ง ท่ายืนและท่าเดิน ให้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) รวมถึงการออกกำลังกาย เพื่อป้องกันการบาดเจ็บซ้ำๆที่จุดเดิม
การออกกำลังกายโดยนักกายภาพฯ แตกต่างจากการออกกำลังกายทั่วไปอย่างไร?
การออกกำลังกายทางกายภาพฯ ไม่ได้เหมือนกับการออกกำลังกายทั่วไป เพราะเราจะเน้นการเสริมสร้างกล้ามเนื้อบริเวณที่มีปัญหา ซึ่งจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บซ้ำที่จุดเดิม นอกจากการรักษาแล้ว ยังเหมือนมีเทรนเนอร์ส่วนตัว ที่ช่วยออกแบบท่าออกกำลังกายเฉพาะบุคคลในการรักษาแต่ละครั้งให้เหมาะกับสภาพกล้ามเนื้อ ณ ขณะนั้น
หากไม่รักษา เดี๋ยวอาการปวดก็หายไปเอง ใช่หรือไม่?
ร่างกายคนเราสามารถซ่อมแซมการบาดเจ็บได้เอง แต่เนื่องจาก เราจำเป็นต้องเคลื่อนไหวหรือใช้งานตลอดเวลา ทำให้การซ่อมแซมตัวเองเป็นไปได้ยากมากขึ้น ถ้ามีอาการปวด 2-3 วันแล้วไม่ดีขึ้น แนะนำให้เข้ามารักษาทางกายภาพฯ จะช่วยให้หายไวขึ้นและอาการปวดจากการบาดเจ็บลดลง
ควรเข้ารับการรักษากี่ครั้ง ความถี่เท่าไหร่?
ขึ้นอยู่กับอาการ เช่น เส้นเอ็นอักเสบจะใช้เวลารักษานานกว่ากล้ามเนื้ออักเสบ ส่วนหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จะทำได้แค่ประคองอาการและลดปวด ส่วนความถี่ในการรักษา คนไข้ควรเข้ารับการรักษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง เพื่อความต่อเนื่องของการรักษา
อาการดีขึ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องรักษาต่อหรือหยุดการรักษาได้ จริงหรือไม่?
การรักษาทางกายภาพฯ จำเป็นต้องใช้ความต่อเนื่องในการเข้ารับการรักษา เนื่องจากคลื่นไฟฟ้าที่ใช้ในการรักษา จะได้ผลในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น หากคนไข้หยุดการรักษากลางคัน เสมือนการรับประทานยาที่ไม่ครบโดส ทำให้มีโอกาสกลับมาเป็นใหม่หรือเรื้อรังได้ จากสถิติของทางคลินิกฯ คนไข้ที่ได้รับการรักษาจนหาย จะไม่กลับมาเป็นซ้ำที่ตำแหน่งเดิมในระยะเวลา 6 เดือน ทั้งนี้ ขึ้นกับการปรับพฤติกรรมของคนไข้ด้วย
Video Blogs
บทความนี้เป็นการประเมินเบื้องต้น ไม่สามารถนำมาอ้างอิงว่าเป็นการวินิจฉัยทางการแพทย์ได้ แนะนำให้เข้ามาตรวจร่างกายอย่างละเอียดกับนักกายภาพฯ เพื่อตรวจหาสาเหตุของอาการปวด รวมถึงวางแผนการรักษาอย่างตรงจุด
-
-
Low Back Pain หรืออาการปวดหลังส่วนล่าง เรามาดูสาเหตุ อาการ และความรุนแรงของอาการปวดหลังที่พบได้บ่อยกัน... #ปวดหลัง #ปวดหลังล่าง
คลิปนี้จะพูดถึง การดูแลตัวเองของนักวิ่ง โดยคลิปนี้จะแบ่งออกเป็น ปัญหา สาเหตุ และบทบาทของกายภาพฯ ต่อนักวิ่ง
Golden Period คือ ระยะเวลาการฟื้นตัวที่เร็วที่สุด ใน 6 เดือนแรก เราจะมาพูดถึงความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับการฟื้นฟูหลัง
6 เดือนกัน...
คลิปนี้จะพูดถึง การปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการบาดเจ็บ เมื่อไหร่ควรจะกลับไปวิ่ง และการรักษาทางกายภาพฯ มีบทบาทสำคัญต่อนักวิ่งอย่างไร...
เราจะมาพูดถึงโรคยอดฮิต "โรคหลอดเลือดสมอง" หรือ "Stroke" โดยจะพูดถึงการสังเกตุ, ประเภท, แนวทางการรักษาทางการแพทย์ และการฟื้นฟูทางกายภาพฯ
คลิปนี้จะพูดถึง "ภาวะแทรกซ้อน" ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบบ่อย ว่ามีอะไรบ้าง และมีแนวทางการป้องกันอย่างไร...
Episode นี้เป็นภาคต่อของ "ภาวะแทรกซ้อน" โดยจะเน้นปัญหาที่พบ
วิธีการดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่สามารถตอบสนองและไม่สามารถตอบสนองได้...
Episode นี้จะพูดถึง การดูแล การประเมินสภาวะของคนไข้
เพื่อทำกายภาพฯ เมื่อคนไข้ออกจากโรงพยาบาลและกลับมาพักฟื้นต่อที่บ้าน...
-
บทความ
บทความนี้เป็นการประเมินเบื้องต้น ไม่สามารถนำมาอ้างอิงว่าเป็นการวินิจฉัยทางการแพทย์ได้ แนะนำให้เข้ามาตรวจร่างกายอย่างละเอียดกับนักกายภาพฯ เพื่อตรวจหาสาเหตุของอาการปวด รวมถึงวางแผนการรักษาอย่างตรงจุด
บทความตามหมวดหมู่
ทีมงาน
นพ.คุณากร อัชชนียะสกุล
American
Board of Vascular Neurology, Clinical Consultant, Co-Founder
MPH, Clinical Trials Focus, Johns Hopkins Bloomberg School of Public
Health
Vascular Neurologist, UPMC Stroke Institute
Clinical Assistant Professor, University of Pittsburgh School of Medicine
กภ.พิชาวีร์ ทรัพย์วัชรโชติ(ขวัญ)
นักกายภาพฯ อาวุโส
กายภาพฯ บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสบการณ์ด้านการรักษาทางกายภาพฯ มากกว่า
14 ปี เชี่ยวชาญด้านออฟฟิศซินโดรม กระดูกสันหลังคด และฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ปกติคิววันเสาร์ที่สาขานนทบุรีของคุณขวัญ ต้องจองคิวล่วงหน้าประมาณ 1-2 อาทิตย์เลยนะ
กภ.อดิเทพ ขวัญสู่ (หนึ่ง)
นักกายภาพฯ อาวุโส
กายภาพฯ บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อดีตนักกายภาพฯ อาวุโสประจำโรงพยาบาลชั้นนำ
เชี่ยวชาญด้านฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
และ 'ลดปวดคนไข้ โดยไม่เจ็บ'
กภ.กิตติยา จำพรึก (แน๊ต)
นักกายภาพฯ อาวุโส
กายภาพฯ บัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ประสบการณ์ทำงานด้านกายภาพฯ มากกว่า
10 ปี เชี่ยวชาญด้านออฟฟิศซินโดรม
ฟีดแบคจากคนไข้ คือ 'กดเป็นโดน’