-
Reduce Pain
Restore Function & Mobility
Improve Quality of Life
Office-Related Syndrome
กลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม
- ✓ Neck Pain (ปวดคอ บ่า ไหล่)
- ✓ Frozen Shoulder (ไหล่ติด)
✓ Low Back Pain (ปวดหลังส่วนล่าง)
✓ Knee Pain (ปวดเข่า)
Previous
Next
-
Reduce Pain
Restore Function & Mobility
Improve Quality of Life
Office-Related Syndrome
กลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม
- ✓ Neck Pain (ปวดคอ บ่า ไหล่)
- ✓ Frozen Shoulder (ไหล่ติด)
✓ Low Back Pain (ปวดหลังส่วนล่าง)
✓ Knee Pain (ปวดเข่า)
Previous
Next
Video Blogs
บทความนี้เป็นการประเมินเบื้องต้น ไม่สามารถนำมาอ้างอิงว่าเป็นการวินิจฉัยทางการแพทย์ได้ แนะนำให้เข้ามาตรวจร่างกายอย่างละเอียดกับนักกายภาพบำบัด เพื่อตรวจหาสาเหตุของอาการปวด รวมถึงวางแผนการรักษาอย่างตรงจุด
Low Back Pain หรืออาการปวดหลังส่วนล่าง เรามาดูสาเหตุ อาการ และความรุนแรงของอาการปวดหลังที่พบได้บ่อยกัน... #ปวดหลัง #ปวดหลังล่าง
คลิปนี้จะพูดถึง การดูแลตัวเองของนักวิ่ง โดยคลิปนี้จะแบ่งออกเป็น ปัญหา สาเหตุ และบทบาทของกายภาพบำบัดต่อนักวิ่ง
ผู้ป่วยมีอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
ปวดหลัง ลงสะโพกด้านขวา ผู้ป่วยมีอาการปวดลดลงตั้งแต่ครั้งแรกที่รักษา
ทำกิจวัตรประจำวันได้คล่องขึ้นตั้งแต่ครั้งที่ 4
คลิปนี้จะพูดถึง การปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการบาดเจ็บ เมื่อไหร่ควรจะกลับไปวิ่ง และการรักษาทางกายภาพบำบัดมีบทบาทสำคัญต่อนักวิ่งอย่างไร...
-
-
-
-
-
-
-
-
-
Office Syndrome
Office Syndrome โรคยอดฮิตของมนุษย์เงินเดือน มาดูกันว่าคืออะไร เกิดจากอะไร ป้องกันยังไง รวมถึง Ergonomics คำที่เราได้ยินบ่อยๆช่วง WFH ว่าคืออะไร มีประโยชน์ยังไง
Read More
McKenzie Exercises
McKenzie Exercises เป็นรากฐานที่สำคัญของการออกกำลังกายเพื่อลดอาการปวดหลังร้าวลงขา เรามาดูกันว่า McKenzie Exercises ว่าคืออะไร เหมาะกับใคร และข้อห้าม-ข้อควรระวัง
Read More
ปวดร้าวลงขา (Sciatica Pain)
ทำไมบางครั้งปวดหลัง หรือปวดสะโพก ถึงร้าวลงขา มาทำความรู้จักกับ "อาการปวดร้าวลงขา" หรือ Sciatica Pain กันว่า เกิดจากสาเหตุใด โรคที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง รวมถึงแนวทางการรักษาด้วยวิธีต่างๆ และกายภาพบำบัด...
Read More
เข่าเสื่อม (OA Knee)
โรคเข่าเสื่อม (OA Knee) พบได้ในทุกวัย เกิดจากกระดูกอ่อนผิวข้อและหมอนรองกระดูกเข่าสึกหรอ ช่องว่างลดลง ทำให้กระดูกอ่อนผิวข้อบดอัดกับกระดูกหน้าแข้ง จึงเกิดอาการปวด
Read More
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นอักเสบ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นอักเสบ (Muscle & Tendon Strain) กล้ามเนื้อหดเกร็ง และเส้นเอ็นยึดข้อต่ออักเสบ คืออะไร? โรคที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง?
เรามาดูอาการ สาเหตุ ความรุนแรง แนวทางป้องกัน และแนวทางการรักษาด้วยกายภาพบำบัดกัน....
Read More
ปวดร้าวลงขา (Sciatica Pain)
ทำไมบางครั้งปวดหลัง หรือปวดสะโพก ถึงร้าวลงขา มาทำความรู้จักกับ "อาการปวดร้าวลงขา" หรือ Sciatica Pain กันว่า เกิดจากสาเหตุใด โรคที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง รวมถึงแนวทางการรักษาด้วยวิธีต่างๆ และกายภาพบำบัด...
Read More
กล้ามเนื้อก้นกดทับเส้นประสาท
ปวดก้นร้าวลงขา ใช่ว่าจะเป็นหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
ปวดลึกๆในก้น ร้าวลงมาต้นขาด้านหลัง รีบเช็คอาการ คุณอาจจะเป็น
"ภาวะกล้ามเนื้อก้นกดทับเส้นประสาท"
(Piriformis Syndrome)
Read More
เคสรีวิว ปวดหลังร้าวลงขา
คนไข้ชอบเล่นฟิตเนส ท่า deadlift แล้วมีอาการปวดหลัง มาดูแนวทางการรักษาของคลินิก และสิ่งที่ตรวจเจอกัน...
Read More
Tennis Elbow
เคยสงสัยไหมว่าไม่ได้เล่นเทนนิส แต่ทำไมคุณหมอบอกว่าเป็น Tennis Elbow...
Read More
ปวดคอ ความเสี่ยงหากไม่รักษา
อาการปวดคอ (Neck Pain) หากไม่รักษา อาจจะทำให้กล้ามเนื้อหรือเส้นเอ็นตึง ข้อต่อกระดูกคอติด หมอนรองกระดูกคอปลิ้น และกระดูกคอเสื่อมในที่สุด...
Read More
4 พฤติกรรมเสี่ยงปวดหลัง
เรามาดู 4 พฤติกรรมเสี่ยงปวดหลัง เพื่อหลีกเลี่ยงกันเถอะ...
Read More
ท่ายืดกล้ามเนื้อ
7 ท่ายืดกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดเมื่อยจากการทำงานที่บ้าน และ
8 ท่ายืดเหยียดกล้ามเนื้อยามเช้า ปลุกความสดชื่นต้อนรับวันใหม่
Read More
FAQs
ทำไมต้อง เบรน รีแฮบ คลินิก?
คนไข้สามารถติดต่อ ปรึกษาปัญหาเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง เรามีการติดตามอาการ ผลการรักษา ตลอดจนให้คำปรึกษาในการดูแลตนเองเบื้องต้น จนกว่าจะถึงนัดหมายครั้งถัดไป
อะไรคือ ความแตกต่าง?
นักกายภาพบำบัดของเรามีประสบการณ์ทำงานไม่ต่ำกว่า 10 ปี ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า คนไข้จะได้รับการรักษาที่ดีที่สุดและปลอดภัยที่สุด
มีการรักษา
8 ขั้นตอนหรือไม่?
ไม่มี เราเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมกับอาการของคนไข้ เช่น การกระตุ้นไฟฟ้า ไม่ได้เหมาะสมกับการรักษาทุกเคส ดังนั้น เราจึงใช้เวลาเพื่อโฟกัสกับการรักษาที่ได้ผลที่สุด
แล้วแนวทางการรักษา
คืออะไร?
การรักษาจะเน้นการทำงานของกล้ามเนื้อทั้งสองฝั่งอย่างสมดุล ลดการอักเสบของจุด Trigger point ซึ่งเป็นที่มาของอาการปวด ปรับโครงสร้างและปรับท่าทางในการใช้ชีวิตประจำวัน (Posture Correction) ไม่ว่าจะเป็นท่านอน ท่านั่ง ท่ายืนและท่าเดิน ให้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) รวมถึงการออกกำลังกาย เพื่อป้องกันการบาดเจ็บซ้ำๆที่จุดเดิม
การออกกำลังกายโดยนักกายภาพบำบัดแตกต่างจากการออกกำลังกายทั่วไปอย่างไร?
การออกกำลังกายทางกายภาพบำบัด ไม่ได้เหมือนกับการออกกำลังกายทั่วไป เพราะการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดจะเน้นการเสริมสร้างกล้ามเนื้อบริเวณที่มีปัญหา ซึ่งจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บซ้ำที่จุดเดิม นอกจากการรักษาแล้ว ยังเหมือนมีเทรนเนอร์ส่วนตัว ที่ช่วยออกแบบท่าออกกำลังกายเฉพาะบุคคลในการรักษาแต่ละครั้งให้เหมาะกับสภาพกล้ามเนื้อ ณ ขณะนั้น
หากไม่รักษา เดี๋ยวอาการปวดก็หายไปเอง ใช่หรือไม่?
ร่างกายคนเราสามารถซ่อมแซมการบาดเจ็บได้เอง แต่เนื่องจาก เราจำเป็นต้องเคลื่อนไหวหรือใช้งานตลอดเวลา ทำให้การซ่อมแซมตัวเองเป็นไปได้ยากมากขึ้น ถ้ามีอาการปวด 2-3 วันแล้วไม่ดีขึ้น แนะนำให้เข้ามารักษาทางกายภาพบำบัด จะช่วยให้หายไวขึ้นและอาการปวดจากการบาดเจ็บลดลง
ควรทำกายภาพบำบัดกี่ครั้ง ความถี่เท่าไหร่ ถึงจะหายขาด?
ขึ้นอยู่กับอาการ เช่น เส้นเอ็นอักเสบจะใช้เวลารักษานานกว่ากล้ามเนื้ออักเสบ ส่วนหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จะทำได้แค่ประคองอาการและลดปวด ส่วนความถี่ในการรักษา คนไข้ควรเข้ารับการรักษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง เพื่อความต่อเนื่องของการรักษา
อาการดีขึ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องรักษาต่อหรือหยุดการรักษาได้ จริงหรือไม่?
การรักษาทางกายภาพบำบัดจำเป็นต้องใช้ความต่อเนื่องในการเข้ารับการรักษา เนื่องจากคลื่นไฟฟ้าที่ใช้ในการรักษา จะได้ผลในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น หากคนไข้หยุดการรักษาโดยที่ยังไม่หายขาด เสมือนการรับประทานยาที่ไม่ครบโดส ทำให้มีโอกาสกลับมาเป็นใหม่หรือเรื้อรังได้ จากสถิติของทางคลินิกฯ คนไข้ที่ได้รับการรักษาจนหายขาด จะไม่กลับมาเป็นซ้ำที่ตำแหน่งเดิมในระยะเวลา 6 เดือน ทั้งนี้ ขึ้นกับการปรับพฤติกรรมของคนไข้ด้วย
คลินิกรักษาออฟฟิศ ซินโดรม (Office Syndrome) ปวดคอ บ่า ไหล่ หลัง ขา สะโพก หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ปวดเข่า เข่าเสื่อม นิ้วล็อค รองช้ำ ปวดไหล่ ไหล่ติด ปวดหลังร้าวลงขา,กายภาพบำบัด คอ, ปวดคอ รักษา, รักษา ปวดแขน, ปวดหลัง รักษา