-
Recover
from Brain Damage
Improve
Balance & Mobility
Regain
Quality of Life
Stroke Rehabilitation
ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Previous
Next
-
Recover
from Brain Damage
Improve
Balance & Mobility
Regain
Quality of Life
Stroke Rehabilitation
ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
Previous
Next
Video Blogs
บทความนี้เป็นการประเมินเบื้องต้น ไม่สามารถนำมาอ้างอิงว่าเป็นการวินิจฉัยทางการแพทย์ได้ แนะนำให้เข้ามาตรวจร่างกายอย่างละเอียดกับนักกายภาพบำบัด เพื่อตรวจหาสาเหตุของอาการปวด รวมถึงวางแผนการรักษาอย่างตรงจุด
-
-
-
-
Ep 3.1 Stroke กับกายภาพบำบัด
เราจะมาพูดถึงโรคยอดฮิต "โรคหลอดเลือดสมอง" หรือ "Stroke" โดยจะพูดถึงการสังเกตุ, ประเภท, แนวทางการรักษาทางการแพทย์ และการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัด
Watch More
Ep 3.2 Golden Period และความเข้าใจที่ผิด
Golden Period คือ ระยะเวลาการฟื้นตัวที่เร็วที่สุด ใน 6 เดือนแรก เราจะมาพูดถึงความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับการฟื้นฟูหลัง
6 เดือนกัน...
Watch More
Ep 3.3 "ภาวะแทรกซ้อน" ในผู้ป่วย Stroke
คลิปนี้จะพูดถึง "ภาวะแทรกซ้อน" ในผู้ป่วย Stroke ที่พบบ่อย ว่ามีอะไรบ้าง และมีแนวทางการป้องกันอย่างไร...
Watch More
Ep 3.4 ปัญหาที่พบ วิธีการดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
Episode นี้เป็นภาคต่อของ "ภาวะแทรกซ้อน" โดยจะเน้นปัญหาที่พบ
วิธีการดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่สามารถตอบสนองและไม่สามารถตอบสนองได้...
Watch More
Mental Practice เทน้ำใส่แก้ว
Mental practice ได้รับการพิสูจน์และยอมรับว่าได้ผลในบรรดานักกีฬาและนักดนตรี
รวมถึงผู้ป่วยโรคหลอดเลิอดสมอง ยังเหมาะกับคนทุกเพศ ทุกวัย ที่ต้องการฝึกสมาธิ
เพื่อให้จิตใจสงบ
Ep 3.5 การดูแลวางแผนฟื้นฟู หลังออกจากโรงพยาบาล
Episode นี้จะพูดถึง การดูแล การประเมินสภาวะของคนไข้
เพื่อทำกายภาพบำบัด เมื่อคนไข้ออกจากโรงพยาบาลและกลับมาพักฟื้นต่อที่บ้าน...
Watch More
Mental Practice เดินขึ้นลงบันได
Mental Practice ดื่มน้ำ
Mental practice ได้รับการพิสูจน์และยอมรับว่าได้ผลในบรรดานักกีฬาและนักดนตรี
รวมถึงผู้ป่วยโรคหลอดเลิอดสมอง ยังเหมาะกับคนทุกเพศ ทุกวัย ที่ต้องการฝึกสมาธิ
เพื่อให้จิตใจสงบ
Mental Practice ก้าวข้ามสิ่งกีดขวาง
Mental Practice ยืนทรงตัว
Mental Practice ลุกจากเก้าอี้
Mental practice ได้รับการพิสูจน์และยอมรับว่าได้ผลในบรรดานักกีฬาและนักดนตรี
รวมถึงผู้ป่วยโรคหลอดเลิอดสมอง ยังเหมาะกับคนทุกเพศ ทุกวัย ที่ต้องการฝึกสมาธิ
เพื่อให้จิตใจสงบ
Mental Practice ก้าวข้ามสิ่งกีดขวาง
Mental practice ยืนทรงตัว
-
-
-
ปัญหาข้อไหล่ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก
ข้อไหล่หลุด เกิดจากการที่กระดูกต้นแขนเคลื่อนออกจากเบ้า พบได้บ่อยในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกที่อยู่ในระยะอ่อนแรง เกิดจาก...
Read More
ปลายเท้าตกในผู้ป่วยอัมพาต
ปัญหาปลายเท้าตกในผู้ป่วยอัมพาต ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ภาวะปลายเท้าตก เป็นปัญหาที่มักพบในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ และอัมพาต ซึ่งเกิดจากการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อหน้าแข้งที่มีหน้าที่สำหรับกระดกข้อเท้า หรือแข็งเกร็งหรือหดสั้นของกล้ามเนื้อน่อง
Read More
เคล็ดลับการฟื้นฟูผู้ป่วยสโตรค
เคล็ดลับการฟื้นฟูของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่จะช่วยให้สามารถฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ทั้งทางร่างกายและจิตใจ...
Read More
ฝึกเชื่อมสมอง 2 ซีก
ฝึกเชื่อมสมอง
2 ซีก
ด้วยท่าง่ายๆ
ข้อดีของการฝึก
- ได้ฝึกสมองทั้ง
2 ซีกให้ทำงานประสานกัน
- ได้ฝึกความเชื่อมโยงระหว่างสมองและร่างกาย
- ได้ฝึกความจำ
ความคิด สมาธิ มีใครทำได้บ้างมั้ยคะ...
Read More
อาหารที่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองควรหลีกเลี่ยง
โรคหลอดเลือดสมองสามารถกลับมาเป็นซ้ำได้ หากผู้ป่วยยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ซึ่งการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และหลีกเลี่ยงอาหารจำพวก อาหารทอด อาหารแปรรูป ของหมักดอง ขนมหวาน น้ำอัดลม และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เหล่านี้ก็จะช่วยควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่จะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคซ้ำได้
ที่มา: นิตยสารชีวจิต
Read More
โรคหน้าเบี้ยว
'โรคหน้าเบี้ยว' โรคที่ดาราฮอลลีวูด ที่ดูแลตัวเองเป็นอย่างดี ก็ยังเป็น... มาทำความรู้จักโรคหน้าเบี้ยว 2 โรค ที่อาการใกล้เคียงกันมากไปพร้อมๆกัน
Read More
FAQs
ทำไมต้อง เบรน รีแฮบ คลินิก?
คนไข้สามารถติดต่อ ปรึกษาปัญหาเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง เรามีการติดตามอาการ ผลการรักษา ตลอดจนให้คำปรึกษาในการดูแลตนเองเบื้องต้น จนกว่าจะถึงนัดหมายครั้งถัดไป
อะไรคือ ความแตกต่าง?
นักกายภาพบำบัดของเรามีประสบการณ์ทำงานไม่ต่ำกว่า 10 ปี ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า คนไข้จะได้รับการรักษาที่ดีที่สุดและปลอดภัยที่สุด
มีการรักษา
8 ขั้นตอนหรือไม่?
ไม่มี เราเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมกับอาการของคนไข้ เช่น การกระตุ้นไฟฟ้า ไม่ได้เหมาะสมกับการรักษาทุกเคส ดังนั้น เราจึงใช้เวลาเพื่อโฟกัสกับการรักษาที่ได้ผลที่สุด
แล้วแนวทางการรักษา
คืออะไร?
การรักษาจะเน้นการทำงานของกล้ามเนื้อทั้งสองฝั่งอย่างสมดุล ลดการอักเสบของจุด Trigger point ซึ่งเป็นที่มาของอาการปวด ปรับโครงสร้างและปรับท่าทางในการใช้ชีวิตประจำวัน (Posture Correction) ไม่ว่าจะเป็นท่านอน ท่านั่ง ท่ายืนและท่าเดิน ให้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomics) รวมถึงการออกกำลังกาย เพื่อป้องกันการบาดเจ็บซ้ำๆที่จุดเดิม
การออกกำลังกายโดยนักกายภาพบำบัดแตกต่างจากการออกกำลังกายทั่วไปอย่างไร?
การออกกำลังกายทางกายภาพบำบัด ไม่ได้เหมือนกับการออกกำลังกายทั่วไป เพราะการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดจะเน้นการเสริมสร้างกล้ามเนื้อบริเวณที่มีปัญหา ซึ่งจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บซ้ำที่จุดเดิม นอกจากการรักษาแล้ว ยังเหมือนมีเทรนเนอร์ส่วนตัว ที่ช่วยออกแบบท่าออกกำลังกายเฉพาะบุคคลในการรักษาแต่ละครั้งให้เหมาะกับสภาพกล้ามเนื้อ ณ ขณะนั้น
หากไม่รักษา เดี๋ยวอาการปวดก็หายไปเอง ใช่หรือไม่?
ร่างกายคนเราสามารถซ่อมแซมการบาดเจ็บได้เอง แต่เนื่องจาก เราจำเป็นต้องเคลื่อนไหวหรือใช้งานตลอดเวลา ทำให้การซ่อมแซมตัวเองเป็นไปได้ยากมากขึ้น ถ้ามีอาการปวด 2-3 วันแล้วไม่ดีขึ้น แนะนำให้เข้ามารักษาทางกายภาพบำบัด จะช่วยให้หายไวขึ้นและอาการปวดจากการบาดเจ็บลดลง
ควรทำกายภาพบำบัดกี่ครั้ง ความถี่เท่าไหร่ ถึงจะหายขาด?
ขึ้นอยู่กับอาการ เช่น เส้นเอ็นอักเสบจะใช้เวลารักษานานกว่ากล้ามเนื้ออักเสบ ส่วนหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จะทำได้แค่ประคองอาการและลดปวด ส่วนความถี่ในการรักษา คนไข้ควรเข้ารับการรักษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง เพื่อความต่อเนื่องของการรักษา
อาการดีขึ้นแล้ว ไม่จำเป็นต้องรักษาต่อหรือหยุดการรักษาได้ จริงหรือไม่?
การรักษาทางกายภาพบำบัดจำเป็นต้องใช้ความต่อเนื่องในการเข้ารับการรักษา เนื่องจากคลื่นไฟฟ้าที่ใช้ในการรักษา จะได้ผลในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น หากคนไข้หยุดการรักษาโดยที่ยังไม่หายขาด เสมือนการรับประทานยาที่ไม่ครบโดส ทำให้มีโอกาสกลับมาเป็นใหม่หรือเรื้อรังได้ จากสถิติของทางคลินิกฯ คนไข้ที่ได้รับการรักษาจนหายขาด จะไม่กลับมาเป็นซ้ำที่ตำแหน่งเดิมในระยะเวลา 6 เดือน ทั้งนี้ ขึ้นกับการปรับพฤติกรรมของคนไข้ด้วย
"กายภาพ บำ บัด ผู้ป่วย stroke", "stroke กายภาพบำบัด", "stroke ฟื้นฟู", "คลินิกกายภาพบำบัด ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคเส้นเลือดสมองตีบ แตก ตัน โรคพาร์กินสัน บาดเจ็บสมองและไขสันหลังจากอุบัติเหตุ" Neurological and Stroke Rehabilitation physiotherapy clinic near me: Stroke, Parkinson's disease, Spinal Cord Injury.