ปวดร้าวลงขา (Sciatica Pain) | สาเหตุ อาการ โรคที่เกี่ยวข้อง

ปวดร้าวลงขา | Sciatica Pain

ปวดร้าวลงขา (Sciatica Pain) ทำไมปวดหลัง ปวดสะโพก ถึงร้าวลงขา

ทำไมบางครั้งปวดหลัง หรือปวดสะโพก ถึงร้าวลงขา มาทำความรู้จักกับ "อาการปวดร้าวลงขา" หรือ Sciatica Pain กันว่า เกิดจากสาเหตุใด โรคที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง รวมถึงแนวทางการรักษาด้วยวิธีต่างๆ และกายภาพบำบัด...

Sciatica Pain คืออะไร

อาการปวดร้าวลงขาคืออะไร เป็นยังไง (Sciatica pain คือ)

เส้นประสาท Sciatica (Sciatic Nerve) เป็นเส้นประสาทที่หนาและยาวที่สุดในร่างกาย เกิดจากการรวมกันของ 5 เส้นประสาทที่เชื่อมต่อกับไขสันหลัง (Spinal Cord) ซึ่งอยู่บริเวณหลังส่วนล่างช่วงเอว ลงมาสะโพก ต้นขาด้านหลัง ไปจนถึงเข่า

"อาการปวดร้าวลงขา" เป็นอาการปวดตามแนวเส้นประสาท Sciatica ซึ่งเริ่มต้นบริเวณหลังส่วนล่างช่วงเอวหรือสะโพก ร้าวลงมาต้นขาด้านหลัง บางรายอาจจะปวดร้าวไปถึงบริเวณฝ่าเท้า

สาเหตุ

สาเหตุของอาการปวดร้าวลงขา (Sciatica pain สาเหตุ)

"อาการปวดร้าวลงขา" เกิดการจากที่เส้นประสาท Sciatica ถูกรบกวนหรือกดทับบริเวณที่เส้นประสาทวิ่งผ่าน เช่น หมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท หรือกระดูกงอกไปกดทับเส้นประสาทบริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่าง ส่งผลให้เส้นประสาทอักเสบและเกิดอาการปวดตามมา 

อาการ

อาการปวดร้าวลงขา เป็นยังไง (Sciatica pain อาการ)

ผู้ป่วยจะมีอาการปวดเริ่มต้นบริเวณหลังส่วนล่างช่วงเอวหรือสะโพก ร้าวลงมาถึงต้นขาด้านหลัง บางรายอาจจะปวดร้าวไปถึงบริเวณฝ่าเท้า ซึ่งส่วนใหญ่จะพบอาการปวดลงที่ขาข้างใดข้างหนึ่ง ผู้ป่วยมักจะรู้สึกชา ปวดแสบปวดร้อน ปวดจี๊ดๆเหมือนเข็มทิ่ม รู้สึกเหมือนไฟช็อต หรือกล้ามเนื้อขาอ่อนแรง 

โดยอาการปวดมักจะแย่ลงในกิจกรรมที่ต้องนั่งนานๆ เวลาจามหรือไอ ส่วนใหญ่อาการปวดมักจะหายไปเองในระยะเวลาไม่กี่สัปดาห์

โรคที่เกี่ยวข้อง

โรคที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดร้าวลงขา มีอะไรบ้าง (Sciatica pain โรค) ปวดร้าวลงขาเป็นโรคอะไร

โรคที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดร้าวลงขา ได้แก่ 
1. โรคทางระบบกระดูกสันหลัง 
- หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท (Herniated Nucleus Pulposus)
- โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis)
- โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolisthesis)
- โรคกระดูกสันหลังเสื่อม (Spondylosis) 

2. โรคทางระบบกล้ามเนื้อ
- ​กล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท (Piriformis Syndrome) 

3. โรคที่มาจากสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการกดทับของเส้นประสาท
- โรคมะเร็ง (Cancer)
- การติดเชื้อ (Infection)
- อุบัติเหตุ (Traumatic Injury)
- โรคที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบของร่างกาย (Inflammatory Diseases) เช่น การอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลัง (Spondyloarthritis) ฯลฯ 

แม้ว่าโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทจะเป็นโรคที่พบได้บ่อยสุด ผู้ที่มีอาการปวดร้าวลงขาควรได้รับการตรวจเพื่อคัดกรองแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อนำไปสู่การรักษาที่ถูกต้อง 

ปัจจัยเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง วิธีหลีกเลี่ยงที่ทำให้เกิดอาการร้าวลงขา (Sciatica pain ความเสี่ยง)

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดอาการปวดร้าวลงขา ได้แก่
- อายุ ระหว่างอายุ 20-50 ปี มักจะพบปัญหาเกี่ยวกับโรคหมอนรองกระดูกมากที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากกระดูกงอกผิดปกติ รวมถึงการสึกหรอและความเสื่อมของหมอนรองกระดูกจากการใช้งานและอายุที่มากขึ้น 
- ความอ้วน น้ำหนักตัวที่มากเกินไปจะส่งแรงกระทำต่อกระดูกสันหลัง ทำให้มีโอกาส​เกิดอาการปวดร้าวลงขามากขึ้น 
- อาชีพ อาชีพที่ต้องยกของหนัก เช่น พนักงานขับรถ จะพบปัญหาเกี่ยวกับโรคหมอนรองกระดูกมากกว่าอาชีพอื่น 
- การนั่งติดต่อกันเป็นเวลานาน พบว่าคนที่นั่งติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยที่ไม่เคลื่อนไหว มีโอกาส​เกิดอาการปวดร้าวลงขา มากกว่าคนที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา 
- โรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 มีความเสี่ยงที่จะมีเส้นประสาทเสียหายมากกว่าคนปกติ 
- อุบัติเหตุ ผู้ที่เคยเกิดอุบัติเหตุบริเวณหลังส่วนล่าง มีโอกาส​เกิดอาการปวดร้าวลงขา มากกว่าคนปกติ 
- กล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวไม่แข็งแรง 

แนวทางการป้องกัน

การป้องกันหรือวิธีป้องกัน อาการปวดร้าวลงขา มีอะไรบ้าง (Sciatica pain การป้องกัน)

แนวทางการป้องกัน 
1. พยายามเปลี่ยนอิริยาบถ เมื่อนั่งหรือยืนติดต่อกันเป็นเวลานาน 
2. ควบคุมน้ำหนักตัว 
3. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ กล้ามเนื้อท้องและกล้ามเนื้อหลังที่แข็งแรง (Core Muscles) จะช่วยป้องกันการ​เกิดอาการปวดร้าวลงขา
4. พยายามตรวจสอบท่าทาง (Posture) ของตัวเองอย่างสม่ำเสมอในการทำกิจวัตรในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็น นั่ง ยืน เดิน หรือ นอน 
5. ยกของด้วยท่าทางที่ถูกต้อง จะช่วยลดโอกาสการ​เกิดอาการปวดร้าวลงขา

แนวทางการรักษา

แนวทางการรักษาอาการปวดร้าวลงขา มีอะไรบ้าง (Sciatica pain รักษา)

แนวทางการรักษา
1. พบแพทย์ อาการปวดเพียงเล็กน้อย มักจะหายไปเอง หากมีอาการปวดนานกว่า 1 สัปดาห์ ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุของอาการปวด แต่หากมีอาการชาหรืออ่อนแรงฉับพลัน อุบัติเหตุ หรือ มีปัญหาการควบคุมการปัสสาวะ ควรไปพบแพทย์ทันที ในกรณีที่มีอาการรุนแรง คุณหมออาจจะพิจารณาการผ่าตัด ส่วนการตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น X-Ray หรือ MRI จะทำก็ต่อเมื่อมีอาการปวดรุนแรงและต่อเนื่องนานหลายสัปดาห์ 
2. ยา เช่น ยาลดปวด ยาแก้อักเสบ ยารักษาเส้นประสาทอักเสบ สเตียรอยด์ ฯลฯ 
3. ประคบอุ่นและประคบเย็น เพื่อลดอาการปวด 
4. การยืดและออกกำลังกายเบาๆ

ทั้งนี้ แนวทางการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุของการเกิดโรค นั้นๆ

กายภาพบำบัด

แนวทางการรักษาทางกายภาพบำบัดอาการปวดร้าวลงขา มีอะไรบ้าง กายภาพบำบัดปวดร้าวลงขา ช่วยอะไร (Sciatica pain กายภาพบำบัด)

แนวทางการรักษาทางกายภาพบำบัด 
นักกายภาพบำบัดสามารถลดปวด โดยเน้นการลดการกดทับของเส้นประสาท และออกแบบโปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มองศาของการเคลื่อนไหว 

รวมถึงปรับท่าทางในการใช้ชีวิตประจำวัน (Posture Correction) เพื่อให้คนไข้สามารถกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ

1
2
แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Assessment

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Ultrasound

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Shockwave (Asoke)

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Electrical Stimulation

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Gun Massage

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Joint Mobilization

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Manual Traction

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Stretching

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Hot/Cold Compress

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Exercises

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Home Program

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Posture Correction

นัดหมาย

3

085-9966-353

45

สาขาอโ​ศก

เปิดทำการทุกวันเวลา 10.30-20.00 น.

6

@brainrehabluxe

กายภาพ แนะนำ สุขุมวิท

Location: ​ อยู่ห้อง B-13 ชั้น B-1 (ข้างออฟฟิศเมท) อาคารจัสมินซิตี้ อโศก ปากซอยสุขุมวิท 23
https://goo.gl/maps/yc3JW
จอดรถฟรี 3 ชั่วโมง

สาขานนทบุรี

เปิดทำการทุกวันเวลา 9.30-20.00 น.

20

@brainrehabclinic

กายภาพ แนะนำ นนทบุรี

Location: อยู่บนถนนรัตนาธิเบศร์ตัดราชพฤกษ์
อยู่ติด MRT บางรักใหญ่ ทางออก 2
https://goo.gl/maps/wTdR4
มีที่จอดรถ 4-5 คัน