McKenzie Exercises | คืออะไร เหมาะกับใคร และข้อควรระวัง

McKenzie Exercises

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises) สำหรับผู้ป่วยโรคกระดูกสันหลัง ปวดหลังร้าวลงขา

McKenzie Exercises ถือเป็นรากฐานที่สำคัญของ Therapeutic Exercises ซึ่งเป็นการออกกำลังกายเพื่อการบำบัดรักษาทางกายภาพบำบัด เป็นการออกกำลังกายเฉพาะส่วนสำหรับหลังส่วนล่าง เพื่อช่วยลดอาการปวดหลังร้าวลงขาด้วยตนเอง รวมถึงการป้องกันอาการปวดหลังที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย แต่คนไข้จำเป็นต้องได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์หรือนักกายภาพบำบัดเสียก่อน ว่ารอยโรคของคนไข้มีข้อห้ามหรือข้อจำกัดในการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่หรือไม่ ดังนั้น การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่จึงไม่ได้เหมาะสำหรับทุกคน เหมือนกับรูปแบบการออกกำลังกายอื่นๆ 

ในปัจจุบัน นักกายภาพบำบัดนิยมผนวกการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่เข้ากับการออกกำลังกายรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้เหมาะสมสำหรับรอยโรคของคนไข้แต่ละท่าน เพื่อผลการรักษาที่ได้ผลดียิ่งขึ้น

ในบทความนี้ เราจะกล่าวถึงบทบาทของการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ ว่าช่วยลดอาการปวดหลังร้าวลงขาได้อย่างไร เหมาะกับใคร และข้อห้าม-ข้อควรระวัง...

McKenzie Exercises คืออะไร

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ คืออะไร (What is McKenzie Exercises?) สำหรับผู้ป่วยโรคกระดูกสันหลัง ปวดหลังร้าวลงขา (Sciatica Pain)

McKenzie Exercises หรือ การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ เป็นการออกกำลังกายเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่างและอาการร้าวลงขา ถูกคิดค้นโดย Robin Anthony McKenzie นักกายภาพบำบัดชาวนิวซีแลนด์ เป็นวิธีการที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เพื่อแก้ไขปัญหาอาการปวดร้าว จากกระดูกสันหลังทั้งส่วนคอและหลังส่วนล่าง โดยใช้วิธีการปรับท่าทางให้เหมาะสม และเคลื่อนไหวซ้ำๆ เพื่อย้ายตำแหน่งอาการปวดให้กลับเข้าสู่แกนกลางลำตัว

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ ถูกออกแบบตามหลัก The McKenzie Method ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ MDT (Mechanical Diagnosis and Therapy) ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้วินิจฉัยและบำบัดโรคทางกระดูกสันหลัง สามารถใช้ได้ตั้งแต่การประเมินเบื้องต้น การจำแนกอาการ การบรรเทาและรักษาอาการปวดหลังด้วยตนเอง รวมถึงการป้องกันอาการปวดหลังที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย

หากท่านมีอาการปวดหลังรุนแรงหรือมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ชาหรืออ่อนแรง ควรไปพบแพทย์หรือนักกายภาพบำบัดเพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างเหมาะสม

ประเภท

วิธีการของแมคเคนซี แบ่งอาการปวดหลังตามอาการที่แสดงออกมา ออกเป็นกี่ประเภท (McKenzie Method Classification)

ตามวิธีการของแมคเคนซี (McKenzie Method) เราสามารถแบ่งอาการปวดหลังตามอาการที่แสดงออกมา ออกเป็น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่
1. กลุ่มอาการของการทรงท่า (Postural syndrome) เป็นอาการปวดหลังที่เกิดจากหลอดเลือดและเนื้อเยื่อเสียหาย เนื่องจากการทำงานซ้ำๆในท่าเดิมเป็นเวลานาน เช่น การยืน เดิน หรือนั่งเป็นเวลานานต่อเนื่องกันในแต่ละวัน
2. กลุ่มอาการผิดปกติของการทำงาน (Dysfunction syndrome) เป็นอาการปวดหลังที่เกิดจากโครงสร้างของเนื้อเยื่อเสียหาย ไม่ว่าจะเป็นการบาดเจ็บต่างๆ การอักเสบ หรือการเสื่อมตามอายุ ทำให้มีการเคลื่อนไหวที่จำกัดและอาการปวดเกิดขึ้น 
3. กลุ่มอาการผิดปกติของแนวกระดูกสันหลัง (Derangement syndrome) เป็นอาการปวดหลังที่พบได้บ่อยที่สุดประมาณ 78% มีสาเหตุมาจากการเคลื่อนของเนื้อเยื่อภายในข้อต่อ (Articular tissue) ทำให้แนวตำแหน่งของข้อต่อถูกรบกวน เกิดการผิดรูปของแคปซูล และเอ็นยึดข้อต่อ ส่งผลให้แนวการวางตัวของข้อต่อผิดปกติ เกิดอาการปวดและการเคลื่อนไหวถูกจำกัดในที่สุด

เหมาะกับใคร

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises) เหมาะกับใคร อาการอย่างไร และไม่เหมาะกับใครบ้าง

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ เหมาะกับผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง ร้าวลงขาหรือร้าวไปแขน เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งจะช่วยลดปวดจากการกดทับเส้นประสาท บริเวณกระดูกสันหลังส่วนคอและหลังส่วนล่าง

ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรได้รับการแนะนำโดยแพทย์หรือนักกายภาพบำบัดผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจวินิจฉัยสาเหตุของอาการปวดหลัง รวมถึงการออกแบบท่าออกกำลังกายที่ถูกต้อง เช่น หากคุณได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังหัก โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis) หรือผ่าตัดเปลี่ยนหมอนรองกระดูกฯ การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ไม่เหมาะสมกับคุณ

ข้อมูลสนับสนุน

ผลการวิจัยที่สนับสนุนการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises)

อาการปวดของผู้ป่วยโรคกระดูกสันหลัง จะเริ่มจากแนวกระดูกสันหลัง และปวดร้าวไปส่วนรยางค์ เช่น แขนและขา 

Albert HB และคณะฯ (2012) พบว่าเราสามารถลดอาการปวดร้าวลงขา (Sciatica pain) โดยการเคลือนไหวซ้ำๆ เพื่อย้ายตำแหน่งอาการปวดร้าวจากขาเข้าสู่แนวกระดูกสันหลังหรือจุดศูนย์กลางมากขึ้น (Centralization)

Donelson R และคณะฯ (1991) พบว่าอาการปวดร้าวลงขา สามารถลดลงได้จากการทำท่าแอ่นหลัง จึงไม่น่าแปลกใจว่า ทำไมการออกกำลังกายโดยท่าแอ่นหลัง มักถูกเรียกว่า การออกกำลังกายแบบ McKernzie

Anatomy เบื้องต้น

ออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises) ช่วยลดปวดได้อย่างไร

หมอนรองกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่เป็นข้อต่อ ทำให้เราสามารถเคลื่อนไหวได้ในท่างอ เหยียด เอนไปทางด้านข้าง และหมุนตัว แต่ละส่วนประกอบด้วย ส่วนนอก และส่วนใน (Nucleus Pulposus) มีหน้าที่รองรับน้ำหนักหรือแรงกระแทกต่างๆ บางครั้งอาจเกิดการฉีกขาดของส่วนนอก ซึ่งหมายถึงภาวะการยื่น ปลิ้นหรือแตกออกมา ทำให้ส่วนในเคลื่อนที่ออกมากดทับเส้นประสาท จึงเกิดอาการปวดร้าวไปตามแนวที่เส้นประสาทวิ่งผ่าน มักเกิดขึ้นจากการที่หมอนรองกระดูก​สันหลังได้รับแรงกดมากจนเกินไป

การออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ สามารถลดอาการชา ปวดร้าวลงขาให้กลับเข้าสู่จุดศูนย์กลาง (Centralization) นั้น สามารถอธิบายโดยใช้หลัก “Dynamic Disc Model” ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของหลังซ้ำๆ เพื่อทำให้นิวเคลียสภายในหมอนรองกระดูกสันหลังเกิดการเคลื่อนที่ โดยใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเพื่อดัน (pumping) Nucleus Pulposus ที่ปลิ้นออกมา ให้กลับเข้าไปอยู่ภายในหมอนรองกระดูกสันหลัง ส่งผลให้การรบกวนเส้นประสาทลดลง และอาการชา ปวดร้าวลงขา จะค่อยๆขยับเข้าสู่จุดศูนย์กลางของร่างกาย (Centralization) แสดงว่าการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ ได้ผลสำหรับอาการของคนไข้นั่นเอง

นอกจากนี้ การขยับซ้ำๆ ทำให้มีเลือดไหลเวียนมาเลี้ยงเส้นประสาทเพิ่มขึ้น (Vasa nervorum) จากการบีบและคลายของหลอดเลือด แม้ว่ามีการฉีกขาดของ Nucleus Pulposus ก็ตาม 

ท่าออกกำลังกาย

ท่าออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises)

ท่าออกกำลังกาย McKenzie exercise ที่นิยม ได้แก่ 
● ท่านอนคว่ำ (Lying prone) ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนคว่ำ แขนอยู่ข้างลำตัว ศีรษะหันไปด้านใดด้านหนึ่ง ท่านี้จะช่วยเพิ่มความโค้ง (lordosis) ของกระดูกสันหลังส่วนเอวได้ 
● ท่านอนคว่ำชันศอก (Prone extension)  นอนคว่ำโดยชันศอกทั้งสองข้างขึ้น ค้างไว้ 5-10 วินาที เป็นอีกท่าหนึ่งที่ช่วยในการลดการกดทับต่อหมอนรองกระดูกสันหลัง 
● ท่านอนคว่ำชันศอก-เหยียดแขนสุด (Prone extension with arms extended)  เป็นท่าที่ท่าออกกำลังกายให้มีการแอ่นหลังมากขึ้น หรือเป็นที่รู้จักในท่าซุปเปอร์แมน 
● The Low Back Side Glide Exercise for Sciatica 
● The Flexion Rotation Exercise for Low Back Pain 
● Standing Lumbar Extension 
● Standing Lumbar Flexion for Low Back Pain

ข้อควรระวัง

ข้อห้าม ข้อควรระวังในการออกกำลังกายแบบแมคเคนซี่ (McKenzie Exercises)

การออกกำลังกายแบบ McKenzie ควรเริ่มจากช้าๆ เพื่อให้ร่างกายคุ้นชินกับการเคลื่อนไหวในทิศทางนั้นๆ หากท่านใดรู้สึกปวดหลังเล็กน้อย ขณะเริ่มออกกำลังกาย ให้หยุดพักจนกว่าอาการปวดทุเลาลง จึงสามารถออกกำลังกายต่อได้ ให้ลองสังเกตว่าอาการปวดย้ายตำแหน่งเข้าสู่แนวกระดูกสันหลังหรือไม่ หากใช่ แสดงว่า การออกกำลังกายเหมาะสมกับอาการปวด ให้ทำท่าใดท่าหนึ่งไปเรื่อยๆ จนไม่มีอาการปวด ถึงสามารถออกกำลังกายท่าถัดไปได้

แต่ในขณะเดียวกัน หากท่านมีอาการชาหรือปวดร้าวขณะออกกำลังกาย ให้หยุด เนื่องจากการออกกำลังกายแบบ McKernzie อาจจะไม่เหมาะสมกับอาการของท่าน หรือท่านอาจจะออกกำลังกายในท่าที่ผิด

ทางคลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ ยินดีให้คำปรึกษาแก่ผู้ที่มีปัญหาปวดหลังร้าวลงขาทุกๆท่าน เพื่อการรักษา และฟื้นฟูที่ถูกต้อง...

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Assessment

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Ultrasound

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Shockwave (Asoke)

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Electrical Stimulation

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Gun Massage

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Joint Mobilization

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Manual Traction

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Stretching

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Hot/Cold Compress

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Exercises

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Home Program

แนวทางการรักษาที่คลินิกกายภาพบำบัด เบรน รีแฮบ (Brain Rehab Clinic) ประกอบไปด้วยการตรวจประเมินร่างกายทางกายภาพบำบัด (Assessment) อัลตราซาวด์ (Ultrasound) ช็อคเวฟ (Shockwave Therapy) กระตุ้นไฟฟ้า (Electrical Stimulation) ปืนนวดคลายกล้ามเนื้อ (Gun Massage) ขยับดัดดึงข้อต่อ (Joint Mobilization) ดึงคอ/หลัง/ขา (Joint Mobilization) ยืดกล้ามเนื้อ (Stretching) ประคบอุ่น/เย็น (Hot/Cold Compress) ออกกำลังกาย (Exercises) ติดเทป (Taping) แบบออกกำลังกายที่บ้าน (Home Program) และการปรับบุคลิกภาพ (Posture Correction)

Posture Correction

นัดหมาย

1

085-9966-353

23

สาขาอโ​ศก

เปิดทำการทุกวันเวลา 10.30-20.00 น.

4

@brainrehabluxe

กายภาพ แนะนำ สุขุมวิท

Location: ​ อยู่ห้อง B-13 ชั้น B-1 (ข้างออฟฟิศเมท) อาคารจัสมินซิตี้ อโศก ปากซอยสุขุมวิท 23
https://goo.gl/maps/yc3JW
จอดรถฟรี 3 ชั่วโมง

สาขานนทบุรี

เปิดทำการทุกวันเวลา 9.30-20.00 น.

5

@brainrehabclinic

กายภาพ แนะนำ นนทบุรี

Location: อยู่บนถนนรัตนาธิเบศร์ตัดราชพฤกษ์
อยู่ติด MRT บางรักใหญ่ ทางออก 2
https://goo.gl/maps/wTdR4
มีที่จอดรถ 4-5 คัน